ชุบชีวิตโลหะเหลือใช้ ให้เป็นของตกแต่งดีไซน์เก๋

พาไปชมของตกแต่งที่นำเศษโลหะเหลือใช้จากอุตสาหกรรมมาหมุนเวียนใช้ใหม่ ใส่ดีไซน์ ดัดแปลงเป็นผลงานศิลปะของตกแต่งที่สวยสะดุดตาไม่เหมือนใคร

แนวคิดเจ๋ง ๆ ของ 4 คนรุ่นใหม่ ที่อยากชวนคุณมาสร้าง Trashless Society ไปด้วยกัน!

พูดถึงการชวนแก้ปัญหา “ขยะ” ในสังคมไทย หลายคนอาจเมินหน้า เพราะไม่อยากเชื่อว่าเราจะแก้ปัญหานี้ได้จริง แต่ถ้าทุกคนคิดแบบนี้และไม่หันมาช่วยกันแก้ไข ปัญหาเหล่านี้ก็อาจย้อนมาส่งผลกระทบต่อทั้งเราและโลกที่เราแคร์ได้สักวัน

Circular Economy คือทางรอดของทุกธุรกิจ

ในปัจจุบันหลาย ๆ องค์กรทั่วโลกให้ความสำคัญกับเรื่องของความยั่งยืน และประเด็นหลักของในตอนนี้ที่หลาย ๆ คือในเรื่อง เศรษฐกิจหมุนเวียน

Technology for Circular Economy

ตัวอย่างการนำเทคโนโลยีมาใช้ในธุรกิจเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียน

‘ลฤก’ พวงหรีดเสื่อ ลดขยะ หมุนเวียนทรัพยากรให้คุ้มค่า

คุณแป้งเป็นทายาทโรงงานผลิตเสื่อพลาสติก ที่เกิดไอเดียนำเสื่อธรรมดามาปรับรูปแบบสีสันลวดลายให้ทันสมัย พัฒนาเป็นสินค้าใหม่ๆ

คุยกับบ้าน ‘ตันศิริมาศ’ ที่ทำเรื่องสิ่งแวดล้อมให้เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน

วิถีชีวิตที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมซึ่งกลายเป็นเป็นเรื่องธรรมดาของครอบครัวนี้ กลายมาเป็นตัวอย่างให้อีกหลายๆ ครอบครัวและหลายคนที่อยากเริ่มต้นมีส่วนร่วมในการรักษาสิ่งแวดล้อมได้รู้ว่า การเริ่มต้นไม่ใช่เรื่องยาก หากมีแรงบันดาลใจบวกกับความตั้งใจ

โรงเรียนราชนันทาจารย์ สามเสนวิทยาลัย ๒ – สร้างอนาคตของชาติด้วยการจัดการขยะ

ในขณะที่โรงเรียนส่วนใหญ่เลือกที่จะสร้างชื่อเสียงจากความโดดเด่นทางด้านการศึกษา หรือการกีฬา โรงเรียนเล็กๆ แห่งหนึ่งกลับเลือกที่จะสร้างบุคลากรของชาติในอนาคตด้วยการจัดการขยะ

หนังสือ “Waste to Wealth …เงินทองจากกองขยะ”

ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า “ขยะ” เป็นอีกปัญหาสำคัญระดับโลกที่ต้องเร่งจัดการ ในขณะที่ทั่วโลกมีการรณรงค์เรื่องลดการสร้างขยะ หรือการจัดการขยะ แต่ทำไมเรายังได้ยิน “ข่าวร้ายจากมหาสมุทร” ที่มีต้นเหตุมาจากปัญหาขยะอยู่เสมอ

เทศบาลเมืองทุ่งสง หาวิธีจัดการขยะที่เหมาะสมกับตนเอง

ขยะในเขตเทศบาลทุ่งสงวันหนึ่งมีมากกว่า 50 ตัน ถ้านำไปฝังกลบทั้งหมดจะเสียค่าฝังกลบถึงปีละ 4 ล้านบาท ทำให้นอกจากปัญหาขยะล้นเมืองแล้ว ยังต้องเสียงบประมาณจำนวนมากจัดการขยะอีกด้วย

ศูนย์วิปัสสนาสากลไร่เชิญตะวัน-สร้างคน สร้างงาน สร้างการจัดการขยะ

พระเมธี วชิโรดม หรือ ท่าน ว.วชิรเมธี มองว่าสิ่งแรกที่ต้องทำก่อนการจัดการขยะคือการสร้างคน และวิธีการสร้างคนที่ดีที่สุดคงไม่มีอะไรจะดีไปกว่าการให้ความรู้และเปลี่ยนแปลงทัศนคติที่มีต่อขยะ