Sub Banner
ถอดบทเรียนธุรกิจยั่งยืน
อยู่รอด
เป็นหนี้ 250,000 ล้าน ทำอย่างไรให้อยู่รอด?
การประกาศอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศลอยตัว เมื่อ 2 กรกฎาคม 2540 ทำให้เอสซีจีซึ่งกู้ยืมเงินและ ติดต่อการค้าด้วยเงินตราต่างประเทศ มียอดเงินกู้สุทธิสูงถึง 250,000 ล้านบาท มากกว่าจำนวนเดิมเกือน 2 เท่า ขณะที่ความต้องการสินค้าในประเทศลดลงครึ่งหนึ่ง ส่งผลให้ขาดทุนถึง 52,000 ล้านบาท เอสซีจี จึงน้อมนำ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการดำเนินธุรกิจ ทำให้รอดพันจากวิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น และกลับมาเติบโตได้อย่างแข็งแกร่งยิ่งขึ้น
ตัวอย่างการน้อมนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาดำเนินงานเพื่อ "อยู่รอด" ระยะยาว
Case Study
ปรับใช้นโยบาย บริหารความเสี่ยง
Case Study
ปรับโครงสร้างธุรกิจ จาก 10 กลุ่ม เหลือ 5 กลุ่ม
Case Study
ปรับปรุงระบบการเปิดเผยข้อมูล ต่อนักลงทุนและเจ้าหนี้
Case Study
ออกหุ้นกู้ในประเทศ ทดแทน เงินกู้ที่เป็น เงินตราต่างประเทศ
Case Study
ไม่ปลดพนักงาน เน้นพัฒนา ศักยภาพและส่งเสริมแนวปฏิบัติ ที่เป็นเลิศในแต่ละวิชาชีพ
เรื่องเล่าของ “เอสซีจี” กับการดำเนินธุรกิจตาม “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
เติบโต
ไม่อยากพอแค่นี้ อยากเติบโตอีก ทำอย่างไร?
เอสซีจี กำหนดกลยุทธ์การเติบโตหลัก 2 ด้าน เพื่อให้ธุรกิจเติบโตอย่างมั่นคง และสร้างความเจริญก้าวหน้า อย่างยั่งยืนให้กับภูมิภาคอาเซียน จากสภาวะการแข่งขันที่รุนแรงขึ้น การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภค และสภาพสังคม อาทิ การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ความกังวลเรื่องทรัพยากรธรรมชาติ และความใส่ใจเรื่องสิ่งแวดแล้ว ที่ส่งผลกระทบกับการดำเนินชีวิตของคนในสังคม
การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยนวัตกรรม
Case Study
สร้างวัฒนธรรม องค์กรนวัตกรรม
Case Study
เพิ่มงบประมาณด้าน การวิจัยและพัฒนา
Case Study
พัฒนาสินค้าและบริการ ที่มีมูลค่าเพิ่มสูง (HVA)
เรื่องเล่าของ “เอสซีจี” กับการดำเนินธุรกิจตาม “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
การขยายธุรกิจสู่ภูมิภาคอาเซียน
Case Study
บริหารความเสี่ยงที่รัดกุม ทั้งด้านการดำเนินงานและการเงิน
Case Study
สร้างแบรนด์ในฐานะกลุ่มธุรกิจที่ ร่วมพัฒนาเศรษฐกิจอาเซียน ให้เติบโตอย่างสมดุลและยั่งยืน
Case Study
ขยายธุรกิจไปยังอาเซียนด้วย ความพอประมาณและมีเหตุผล
เรื่องเล่าของ “เอสซีจี” กับการดำเนินธุรกิจตาม “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
ยั่งยืน
ความรู้และคุณธรรม พื้นฐานสำคัญของความยั่งยืน
ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่สำคัญของเอสซีจีตลอดระยะเวลา 103 ปีของการดำเนินธุรกิจ คือ การร่วมแรงร่วมใจที่ดี จากพนักงานทุกระดับ ใช้ความรู้และความสามารถปฏิบัติงานในความรับผิดชอบของตนเองอย่างเต็มความสามารถ
ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาอย่างเป็นระบบ
Case Study
เฟ้นหาคนทำงานที่ "เก่งและดี" มาร่วมงานกับเรา
Case Study
บริหารคนให้เป็นผู้นำที่ดี สร้าง วัฒนธรรมองค์กร สร้างนวัตกรรม และพร้มปฏิบัติงานในต่างประเทศ
Case Study
มีแนวทางการพัฒนาศักยภาพ บุคลากรที่ชัดเจน
การเป็นพลเมืองดีของทุกประเทศที่ดำเนินธุรกิจ
Case Study
ปลูกฝังคุณธรรมตามหลัก 4 จรรยาบรรณเอสซีจี และแนวทางบรรษัทภิบาลที่ดี
Case Study
ขยายเครือข่ายคุณธรรม ในการดำเนินงานกับคู่ธุรกิจ
Case Study
ส่งเสริมให้พนักงานบำเพ็ญตน เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง
เรื่องเล่าของ “เอสซีจี” กับการดำเนินธุรกิจตาม “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”